วันจันทร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2562


 Learning notes 6


9 September 2019  Attendance time Study morning





 Knowledge gained today 
ส่งงาน การคัดพยัญชนะ
สอนกิจกรรมเคลื่อนไหวจังหวะ



ตัวอย่างที่ เพื่อนออกมาสอน (ครู ทราย)
ครูทรายมี ทั้งหมด 3 สัญญาณ ดังนี้
สัญญาณที่ 1 เคาะช้า เคลื่อนไหวเป็นช้างช้าๆ
สัญญาณที่ 2 เคาะเร็ว เคลื่อนไหวเป็นช้างเร็วๆ
สัญญาณที่ 3 เคาะ 2 ครั้งติดกัน ให้หยุดกับที่ทันที

( ให้เด็กเกิดการสังเกต การแยกแยะ การเคาะเร็ว ช้า ให้เกิดการสรุปเพื่อเกิดความแตกต่าง )

กิจกรรมสัมพันธ์เนื้อหา
ต่อไปให้เด็กๆ ทุกคนยืนขึ้น หาพื้อนที่ของตัวเองอย่างอิสระ ทั่วๆ บริเวณห้อง ให้ช้างแต่ละตัว ไปหาประโยชน์ของช้าง และนั่งลง


 อาจารย์แนะนำให้ 
 เคาะ 1 ครั้ง เดิน 1 ก้าว หรือ กระโดด 1 ครั้ง
 เคาะ 2 ครั้ง เดิน 2 ก้าว หรือ กระโดด 2 ครั้ง
 เคาะ 2 ครั้งติดกัน ให้หยุดทันที หรือ นั้งลง ( แล้วแต่เราจะกำหนด)
( ให้เด็กเกิดการสังเกต การแยกแยะ การเคาะเร็ว ช้า ให้เกิดการสรุปเพื่อเกิดความแตกต่าง )

คำว่าสัญญาณ เราไม่ต้องพูด แต่เราจะพูดไปเลยโดยไม่ต้องกล่าวสัญญาณ การที่จะสอนเด็ก เราต้องเคาะจังหวะปกติด้วย ไม่ใช่ อยู่ๆ จะเคาะเลยไม่ได้ อาจทำให้เด็กสับสน
  ข้อแรก คำพูด ต้องสั้น กระชับ
  สัญญาณ ต้องมีความแตกต่าง เพราะเด็กบางคนถ้าเคยมีพื้นฐานการทำกิจกรรมมาก็สามารถทำได้เลย แต่ถ้าเด็กบางคนไม่เคยมีพื้นฐานมา อันนี้เราต้องใรู้ จังห้เด็กหวะช้า เร็ว ปกติ ให้ได้
  ครูอาจจะมีการเคาะที่แปลกใหม่ เช่น เคาะ 1 กระโดด เคาะ 2 ปรบมือ หรือ อาจจะ เคาะปกติคู่กับช้า เคาะปกติคู่กับเร็ว

 รูปกิจกรรมที่ทำในห้องเรียนวันนี้ 







 คลิปทดลองการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 
หน่วย เรื่อง ลอยกระทง 




assessment

Self-assessment
  1. เข้าเรียนตรงต่อเวลา
  2. แต่งกายถูกระเบียบ
  3. ต้องใจฟังอาจารย์
  4. นำสมุดมาจดบันทึกในขณะที่อาจารย์สอน
Teacher evaluation
  1. อาจารย์มาตรงเวลา
  2. อาจารย์อธิบายรายละเอียดของวิชาที่จะเรียนได้ชัดเจน
  3. อาจารย์ยิ้มแย้มแจ่มใส ทำให้การเรียนวันนี้ไม่เครียด ตึง เกินไป
  4. อาจารย์ดุมากวันนี้
  5. อาจารย์มีความยืดหยุ่นในการเรียน
  6. อาจารย์แต่งกายได้สุภาพ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ รูปเคลื่อนไหวจบการนำเสนอ




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น